เฮือกสุดท้ายของชีวิต (๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ผ้าที่เศร้าหมองมีมลทินจับ ช่างย้อม นำเอาผ้าผืนนั้นใส่ลงในนํ้าย้อมใดๆ คือ สีเขียว สีเหลือง สีแดง หรือสีชมพู ผ้านั้นพึงเป็นของมีสีที่เขาย้อมไม่ดี มีสีมัวหมอง เพราะผ้าเป็นของไม่บริสุทธิ์ ฉันใด เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็นอันหวังได้ ฉันนั้น ผ้าที่บริสุทธิ์สะอาด ช่างย้อมพึงนำเอาผ้าผืนนั้นใส่ลงในนํ้าย้อมใดๆ คือสีเขียว สีเหลือง สีแดง หรือสีชมพู ผ้านั้นพึงเป็นของมีสี ที่เขาย้อมดี มีสีสด ข้อนั้นเพราะผ้าเป็นของบริสุทธิ์ ฉันใด เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้ ฉันนั้น
เส้นทางจอมปราชญ์ (๑)
ขุมทรัพย์คือบุญนั้น สามารถให้สมบัติที่น่าใคร่ทุกอย่างได้ มนุษย์และเทวดาทั้งหลายปรารถนาผลใด ผลทั้งปวงย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
ดื่มน้ำแบบไหน ที่ ร่างกายต้องการ คลิ๊ก !!
การดื่มน้ำให้เพียงพอ!! ต่อ..ความต้องการของร่างกายนั้นอย่า..ไปกำหนดว่าวันนี้ได้ปริมาณของน้ำ
ท่าทีต่อสงฆ์ในยุคปัจจุบัน
พระภิกษุตามวัดต่าง ๆ มีอยู่เป็นจำนวนมาก ที่ตั้งใจรักษาศีล ปฏิบัติธรรม ฝึกจิต ยินดีในความมักน้อย สันโดษ แต่สื่อไม่ได้นำข่าว ในด้านดีของพระมาเสนอต่อสาธารณชน ผู้คนในสังคมจึงพากันเข้าใจว่า พระดี ๆ หาไม่ได้แล้ว
ปุราณอักษรา
เส้นจารเนื้อความพระไตรปิฎกบนแผ่นลานนอกจากจะเป็นหลักฐานแสดงการสืบทอดพุทธธรรมแล้วยังเป็นหลักฐานบ่งบอกถึงวิวัฒนาการอักษรโบราณบนแผ่นดินไทยอีกด้วย
ลักษณะมหาบุรุษ (๑)
ความมีวรรณะงาม ความมีเสียงเพราะ ความมีทรวดทรงดี ความมีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร อิฐผลทั้งหมดนั้น บุคคลย่อมได้ด้วยบุญนิธินี้
ครุกรรม (๑)
คนพาลกระทำกรรมอันลามกอยู่ ย่อมไม่รู้สึก บุคคลที่มีปัญญาทรามย่อมเดือดร้อน เพราะกรรมทั้งหลายอันเป็นของตน เหมือนบุคคลที่ถูกไฟไหม้แล้วฉะนั้น
มหาสมบัติจักรพรรดิ (๑)
ความเป็นพระราชาประเทศราช ความเป็นใหญ่ สุขของพระเจ้าจักรพรรดิที่น่าปรารถนา แม้ความเป็นราชาแห่งเทวดาในทิพยวิมาน อิฐผลทั้งหมดนั้นอันเทวดาและมนุษย์ ย่อมได้ด้วยขุมทรัพย์คือบุญนี้
อัธยาศัยของมนุษย์ (๑)
บัณฑิตพึงทราบ จริตทั้งหลาย โดยอิริยาบถ โดยกิจ โดยการบริโภค โดยอาการ มีการดู เป็นต้น และโดยความเป็นไป แห่งธรรมนั่นแล